วันอังคารที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2558

บทที่ 4  การเคลื่อนที่แบบต่างๆ


    การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์   หมายถึง วัตถุที่ขว้างหรือยิงออกไป โดยจะสังเกตได้ว่ามีแนวการ เคลื่อนที่เป็นวิถีโค้ง โดยในบทเรียนจะถือว่าแรงต้านของอากาศน้อยมากจนไม่ต้องนำมาคิด การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์เป็นการเคลื่อนที่ใน 2 มิติ คือเคลื่อนที่ในแนวระดับและแนวดิ่ง พร้อมกัน ในแนวดิ่งเป็นการเคลื่อนที่ที่มีความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงโลกในขณะที่แนวราบ    อ่านต่อ

บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่


    แรง (Force  คือ สิ่งที่กระทำต่อวัตถุในรูปของการพยายามดึงหรือดันที่จะทำให้วัตถุนั้นเคลื่อนที่ และเมื่อมีแรงมากระทำต่อวัตถุ วัตถุจะเคลื่อนที่หรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้อาจเพราะมีแรงอื่นกระทำต่อวัตถุด้วย เช่น ถ้าวัตถุวางบนพื้น แรงเสียดทานระหว่างพื้นกับวัตถุก็จะกระทำต่อวัตถุด้วย หากแรงที่กระทำต่อวัตถุไม่มากพอที่จะเอาชนะแรงเสียดทานวัตถุก็จะไม่เคลื่อนที่ หรือกรณีการออกแรงกระทำต่อวัตถุที่ยึดไว้อย่างแข็งแรง เช่น เสา หรือกำแพง เสาหรือกำแพงย่อมไม่เคลื่อนที่   อ่านต่อ

บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง


การเคลื่อนที่ ในแนวตรง    

อัตราเร็ว คือการเปลี่ยนแปลง ระยะทาง ต่อเวลา
Description: http://student.nu.ac.th/phyedu12/PHYSICS_IcPhysics0_.gif

อัตราเร็วเฉลี่ย หน่วย เมตร/วินาที(m/s)


s = ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ (m) ตามแนวเคลื่อนที่จริง


t = เวลาในการเคลื่อนที่ (s)         อ่านต่อ

บทที่ 1  บทนำ


     ฟิสิกส์ (Physics) มาจากภาษากรีก ซึ่งหมายความว่าธรรมชาติ (nature) คือวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับมวลสารและพลังงานเพื่อนาไปอธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่สังเกตเห็นหรือแก้ปัญหาที่เร้นลับทางธรรมชาติ  วิชาฟิสิกส์ที่นักเรียนจะได้เรียน จะเป็นความรู้ความเข้าใจที่เกิดขึ้น และสะสมกันมาในช่วงเวลา 400ปีซึ่งเป็นส่วนพื้นฐานของวิชาที่ได้จัดให้เป็นระบบ เพื่อให้เกิดความสะดวกต่อการเรียนรู้ และในที่สุดเรื่องต่าง ๆ ที่เรียนจะสัมพันธ์กันทุกเรื่อง การเรียนรู้ที่ดีจะต้องมีความเข้าใจหลักการของเรื่องนั้น ๆ   อ่านต่อ